วันอังคารที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

เรื่องอินเทอร์เน็ต(บริการค้นหาข้อมูล)

แบบฝึกหัดที่ 4 เรื่องอินเทอร์เน็ต(บริการค้นหาข้อมูล)

  1. ห้อธิบายพร้อมยกตัวอย่างความแตกต่างระหว่างการสืบค้นแบบ  Web directory , Meta  search ,  Search  engine  
    วิธีการสืบค้น web Director คือ สารบัญเว็บไซต์ที่สามารถค้นหาข่าวสารข้อมูล ด้วยหมวดหมู่ข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ในปริมาณมาก  คล้ายๆกับสมุดหน้าเหลืองครับ ซึ่งจะมีการสร้างดรรชนีมีการระบุหมวดหมู่อย่างชัดเจน ซึ่งจะช่วยให้การค้นหาข้อมูลต่างๆ หมวดหมู่นั้นๆ ได้รับการเปรียบเทียบอ้างอิง เพื่อหาข้อเท็จจริงได้ ในขณะที่ค้นหาข้อมูล จะมีเว็บไซต์มากมาย หรือ Blogมากมายที่มีเนื้อหาคล้าย ๆ กันในหมวดหมู่เดียวกัน ให้เลือกที่จะหาข้อมูลได้ อย่างตรงประเด็นที่สุด (ลดระยะเวลาได้มากในการค้นหา)

    ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็น Web Directory มีดังนี้
    http://www.dmoz.org/
    วิธีการสืบค้นหาแบบ Metasearch Enginesจุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสำคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคำประเภทNatural Language (ภาษาพูด) ดังนั้น หากจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย

    ตัวอย่างของ Meta Search Engine มีดังต่อไปนี้
    AskJeeves ( 
    http://askjeeves.com )
    Beaucoup Search Engines ( 
    http://www.beaucoup.com/engines.html
    3. วิธีการสืบค้นหาแบบ (search engine) คือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย. เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญ ตัวอย่าง search engine มีดังนี้


     http://www.google.com
    http://search.yahoo.com
  2. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างการใช้คำสั่ง ดีใจจังค้นแล้วเจอแล้ว กับ การค้นหาแบบธรรมดา ใน Google  การใช้คำสั่ง ดีใจจัง ค้นแล้วเจอเลยจะช่วยให้ใช้เวลาในการค้นหาหน้าเว็บน้อยลงเพราะเมื่อใช้คำสั่ง Google จะเข้าหน้าเว็บแรกที่เป็นผลลัพธ์ของข้อความค้นหาของคุณ ทันที ส่วนการใช้คำสั่งค้นหาแบบธรรมดานั้น Google จะแสดงผลลัพธ์เป็นหน้าเว็บให้คุณเลือกเข้าเอง
  3. ในการค้นหาขั้นสูง จะมีคำสั่ง AND กับ OR  เพื่อใช้เสริมในการค้นหา  จงอธิบายความแตกต่างพร้อมยกตัวอย่างการใช้งานพร้อมผลลัพธ์ทั้งสอง (แต่ละคนห้ามซ้ำกัน) 
    AND เป็นการให้คำที่เราต้องการค้นหา ปรากฏในผลลัพธ์ ทั้งสองคำ ที่อยู่ระหว่าง “AND”
    เช่น ค้นหาคำว่า 
    computer AND ram ผลลัพธ์ที่ได้จะต้องมีคำว่า computer และ ram ทั้งสองคำนี้ปรากฏอยู่ เป็นค้นOR เป็นการให้คำที่เราต้องค้นหา ปรากฏในผลลัพธ์ คำใดคำหนึ่ง ที่อยู่ระหว่าง “OR”
    เช่น ค้นหาคำว่า 
    computer OR ram ผลลัพธ์ที่ได้จะมีคำว่า computer หรือ ram คำใดคำหนึ่ง หรือทั้งสองคำปรากฏอยู่เป็นต้น
  4. Google Scholar มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานอย่างไร  Google Scholar เป็นวิธีที่ง่ายๆ ในการค้นหางานเขียนทางวิชาการได้อย่างกว้างขวาง คุณสามารถค้นหาในสาขาวิชาและแหล่งข้อมูลต่างๆ มากมายได้จากจุดเดียว: บทความ peer-reviewedวิทยานิพนธ์ หนังสือ บทคัดย่อ และบทความจากสำนักพิมพ์ทางวิชาการ แวดวงวิชาชีพ ที่เก็บร่างบทความ มหาวิทยาลัย และองค์กรด้านการศึกษาอื่นๆ Google Scholar ช่วยให้คุณสามารถระบุการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องมากที่สุดในโลกแห่งการค้นคว้าวิจัยทางวิชาการ
  5. Google Guru  มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานอย่างไร  Google Scholar เป็นวิธีที่ง่ายๆ ในการค้นหางานเขียนทางวิชาการได้อย่างกว้างขวาง คุณสามารถค้นหาในสาขาวิชาและแหล่งข้อมูลต่างๆ มากมายได้จากจุดเดียว: บทความ peer-reviewedวิทยานิพนธ์ หนังสือ บทคัดย่อ และบทความจากสำนักพิมพ์ทางวิชาการ แวดวงวิชาชีพ ที่เก็บร่างบทความ มหาวิทยาลัย และองค์กรด้านการศึกษาอื่นๆ Google Scholar ช่วยให้คุณสามารถระบุการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องมากที่สุดในโลกแห่งการค้นคว้าวิจัยทางวิชาการ
  6. iGoogle คืออะไรมีไว้เพื่อจุดประสงค์ใ
    1.มีหลากหลายรูปแบบและจะช่วยทำให้เราสะดวกในการใช้งาน 2.เพื่อดูข้อความ Gmail ล่าสุดของคุณ
    3.เพื่ออ่านข่าวจาก Google News และแหล่งข่าวชั้นนำอื่นๆ 4.เพื่อการตรวจสภาพอากาศเครื่องมือแปลงสกุลเงินกล่องเมล์จาก Gmail, หน้าข่าวเด่นประจำวันต่าง หรือแม้กระทั่ง กระดาษโน้ต 1.มีหลากหลายรูปแบบและจะช่วยทำให้เราสะดวกในการใช้งาน
  7. จงบอกสิทธิประโยชน์ของการสมัครเป็นสมาชิกของ Google  ว่ามีความแตกต่างกับผู้ไม่สมัครอย่างไร (ให้นักเรียนบอกที่มาด้วย) มื่อสมัครเป็นสมาชิก Google จะได้รับสิทธิประโยชน์ดังนี้
    – สถิติเกี่ยวกับ Visitor รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้ที่เข้ามาชมเว็บไซต์– สถิติเกี่ยวกับ Traffic รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับช่องทางในการเข้าถึงเว็บไซต์– สถิติเกี่ยวกับ Content รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถิติการเข้าชมเนื้อหาภายในหน้าเว็บไซต์– สถิติเกี่ยวกับ Goal วิเคราะห์ว่าผู้ใช้งานเข้าถึงเป้าหมายภายในเว็บไซต์ได้อย่างไร

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น